Skip to main content
sharethis
Event Date
กำหนดการสัมมนา

“ภาพหลอกหลอน ณ ชายแดนใต้ของไทย:
การเขียนประวัติศาสตร์ปาตานีและโลกอิสลาม”
 
การสัมมนาวิชาการนานาชาติ
จัดโดย

โครงการภูมิภาคศึกษา สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
 
 
11-12 ธันวาคม 2552
อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ
 
 
 
วันที่ 1: 11 ธันวาคม 2552
 
 
ห้องที่ 1 (105)
 
08.30 – 09.00
ลงทะเบียน
09.00 – 09.30
พิธีเปิด
กล่าวแนะนำการสัมมนา: อธิการบดี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
กล่าวเปิดงาน: รองอธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กล่าวต้อนรับวิทยากรและผู้เข้าร่วมสัมมนา: ผู้อำนวยการ สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ
09.30 – 10.00
ปาฐกถานำการสัมมนา: ศ. ดร. ธงชัย วินิจจะกูล
กล่าวแนะนำองค์ปาฐก: รศ. ฉลอง สุนทราวาณิชย์
 
10.00 – 11.30
ห้องที่ 1 (105)
1. เสน่หาอาณานิคม กับภูมิสังขารรัฐไทย

• จากประเทศราชถึงมณฑลปัตตานี: มุมมองบางประการต่อความสัมพันธ์ระหว่างสยาม-ปัตตานีผ่านประวัติศาสตร์นิพนธ์คริสต์ศตวรรษที่ 17-20
- รศ. ยงยุทธ ชูแว่น (มหาวิทยาลัยศิลปากร)
- ผศ. พรรณงาม เง่าธรรมสาร (นักวิชาการอิสระ)
• การผนวกหัวเมืองปัตตานี ร.ศ.120
- ผศ. ดร. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
• จากปาตานีสู่ปัตตานี: อวสานรัฐจักรพรรดิราช, ค.ศ. 1785-1836
- มร. ฟรานซิส อาร์. แบรดลีย์ (University of Wisconsin-Madison, สหรัฐอเมริกา)
 
 
ห้องที่ 2 (203)
1. การผลิตความรุนแรง กับประวัติศาสตร์นิพนธ์ปาตานี

ใบปลิวของกองกำลังปาตานีและการเรียกใช้ประวัติศาสตร์
- ศ. ดร. ดันแคน แม็กคาร์โก (University of Leeds, อังกฤษ)
• การสร้างประวัติศาสตร์ด้วยการผลิตเหตุการณ์: ความรุนแรงและการผลิตเรื่องเล่าทางประวัติศาสตร์ในภาคใต้ของไทย
- มร. มูฮัมหมัด อาระฟัต บิน โมฮัมหมัด (Harvard University, สหรัฐอเมริกา)
• ประวัติศาสตร์ปาตานีระยะใกล้กับการต่อรองทางการเมืองที่หายไป
- นายรอมฎอน ปันจอร์ (Deep South Watch, ปัตตานี)
 
11.30 – 13.00
ปฏิบัติศาสนกิจ และรับประทานอาหารกลางวัน
 
13.00 – 15.00
ห้องที่ 1 (105)
2. มนต์สะกดภาพหลอนประวัติศาสตร์ปาตานี

• อัตลักษณ์ทางประวัติศาสตร์, ความเป็นชาติ, การสร้างชาติ, และการเขียนประวัติศาสตร์มลายูมุสลิมในภาคใต้ของไทย ทศวรรษ 1940 – ปี ค.ศ. 1970
- ศ. ดร. กอบเกื้อ สุวรรณทัต-เพียร (Universiti Pendidikan Sultan Idris, มาเลเซีย)
• การจัดวางประวัติศาสตร์นิพนธ์แบบจารีต, แบบอิสลาม, และแบบสมัยใหม่ ในอัตลักษณ์ปาตานี-ยาวี
- รศ. ดร. อิอิก อาริฟิน มันซูร์นัวร์ (University of Brunei Darussalam, บรูไนดารุสซาลาม)
• การร่างโครงและสร้างใหม่ประวัติศาสตร์รัฐสุลต่านปาตานี โดยนักประวัติศาสตร์ปาตานี
- ดร. เดนนิส วอล์กเกอร์ (Monash University, ออสเตรเลีย)
• วาทกรรมประวัติศาสตร์ว่าด้วยความเสื่อมและการล่มสลายของรัฐปาตานี: จากฮิกายัต ปัตตานีสู่ตัวบทร่วมสมัย
- ดร. โดม ไกรปกรณ์ (สถาบันเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์)
 
 
ห้องที่ 2 (203)
2. ป่วนปั่นแม่บทประวัติศาสตร์ไทย

• ข้อเรียกร้อง 7 ประการ ของขบวนการปะตานี: ความหมายและนัยทางประวัติศาสตร์
- รศ. ดร. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
• สถานะของความเพ้อฝัน: อดีตแปลกแยกของปาตานีและความเป็นไปไม่ได้ของสมานฉันท์
- รศ. ดร. มาร์ก แอสกิว (University of Melbourne, ออสเตรเลีย, และ Senior Research Fellow, สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้, มอ. ปัตตานี)
• การเขียนแก้ประวัติศาสตร์: สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพกับหัวเมืองมลายู
- ดร. ธนาพล ลิ่มอภิชาต (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
• ถอดรื้อวาทกรรม “ข้อเรียกร้องฮัจยีสุหลง" ความขัดแย้งจากอคติและการตีความคำร้องขอแห่งประวัติศาสตร์ยุคปัตตานี
- อ. โชคชัย วงษ์ตานี (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, วิทยาเขตหาดใหญ่)
 
15.00 – 15.15
พักรับประทานอาหารว่าง
 
15.15 – 17.00
ห้องที่ 1 (105)
3. จินตนาการอื่นว่าด้วยปาตานี

• ประวัติศาสตร์เหมืองดีบุกที่รอคอย: ทัศนะอังกฤษต่อดินแดนปาตานีตอนในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19
- ดร. ฟิลิป คิง (Murdoch University, ออสเตรเลีย)
• ดินแดนปาตานีในเอกสารจีนจากคริสต์ศตวรรษที่ 6-19
- ดร. เจฟฟ์ เวด (Institute of Southeast Asian Studies, สิงคโปร์)
• ปาตานี: เมืองท่าการค้าระหว่างโลกตะวันออกโลกและตะวันตกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 17 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18
- ดร. ภาวรรณ เรืองศิลป์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
- ดร. ปิยะดา ชลวร (นักวิชาการอิสระ)
• (หวน) เล่าเรื่องอดีต: หลากเรื่องราวชีวิตของคนมลายูนอกกรอบประวัติศาสตร์
- นายศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ (ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร)
 
ห้องที่ 2 (203)
3. เวทีอภิปราย: วิญญาณแห่ง “อิบรอฮิม ชุกรี” ในประวัติศาสตร์นิพนธ์ปาตานี

• ผู้ดำเนินการอภิปราย: มร. ฟรานซิส อาร์. แบรดลีย์ (University of Wisconsin-Madison, สหรัฐอเมริกา)
 
19.00 – 21.00
เลี้ยงรับรองอาหารค่ำสำหรับวิทยากร, เจ้าภาพโดย: สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ
 
 
วันที่ 2: 12 ธันวาคม 2552
ห้อง 1 (105)
 
08.30 – 09.00
ลงทะเบียน
09.00 – 09.30
ปาฐกถานำการสัมมนา: ศาสตราจารย์ ดร. แอนโทนี รีด
กล่าวแนะนำองค์ปาฐก: ดร. แพทริค โจรี
 
09.30 – 09.45
พักรับประทานอาหารว่าง
 
09.45 – 12.00
ห้องที่ 1 (105)
4. อาณาจักรทางปัญญาของอุลามะปาตานี

• เครือข่ายอุลามะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ / Networks of Patani Scholars in SEA
- ศ. ดร. อัซยูมาร์ดี อัซรา (Syarif Hidayatullah State Islamic University, อินโดนีเซีย)
• บทบาทของปัญญาชนปาตานีในโลกอิสลามสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19
- มร. ฟรานซิส อาร์. แบรดลีย์ (University of Wisconsin-Madison, สหรัฐอเมริกา)
• บทบาทของอุลามะมลายูปาตานี กับการเผยแผ่ศาสนาอิสลามในเอเชียอาคเนย์
- พล.ต.ต. จำรูญ เด่นอุดม (นักวิชาการอิสระ)
• เครือข่ายปัญญาชนแห่งฮารอเมน และปาตานี
- ดร. นุมาน หะยีมะแซ (Universiti Sains Malaysia, มาเลเซีย)
 
ห้องที่ 2 (203)
4. พื้นที่แห่งการจิตนาการถึงความเป็นชาติในโลกอิสลาม

• ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างปัตตานีในไทย และอาเจะห์ในอินโดนีเซีย: มิติทางประวัติศาสตร์
- มร. มัสดูกี (Indonesian Islamic University, อินโดนีเซีย)
• อาเจะห์ ปาตานี และการเสื่อมสลายของจักรวรรดิอุสมานิยะห์
- ศ. ดร. ฮัสบี อามีรุดดิน (IAIN Ar-Raniri, อาเจะห์, อินโดนีเซีย)
• ปาตานีในโลกไซเบอร์ของอาหรับ: การศึกษาเชิงสถิติและเชิงวิเคราะห์
- ดร. อาดามา บัมบา (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี)
• มลายูปาตานีโพ้นทะเล
- อ. นิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี)
 
12.00 – 13.00
รับประทานอาหารกลางวัน
 
13.00 – 15.00
ห้องที่ 1 (105)
5. ตามรอยดวงวิญญาณแห่งปาตานี

• ชุมชนมุสลิมแห่งปาตานี: อะกีดะฮ์ เตาฮีดียะฮ์ ในฐานะเสาหลักของสังคม
- ผศ. ดร. หะสัน หมัดหมาน (มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์)
• ชัยคฺวันอะห์มัด อัล-ฟะฏอนีย์ นักปรัชญาเมธีด้านการศึกษาและการเมืองของโลกมลายู (พ.ศ.2399-2451)
- อ. อิสมาอีล เบญจสมิทธิ์ (ศูนย์ PUSTA, ปัตตานี)
• มรดกของชัยคฺดาอุด อัล-ฟาฏอนี ต่อการก่อรูปความคิดของมลายูมุสลิม ผ่านงานเขียนภาษายาวี- อัล-ดูร์ อัล-ซามิน (al-Durr al-Thamin)
- อ. ไฟซอล หะยีอาวัง (มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา)
- รศ.ดร. ซัยลาน มอริส (Universiti Sains Malaysia, มาเลเซีย)
• การสร้างความชอบธรรมให้กับรัฐสุลต่านปาตานี: การวิเคราะห์ผ่านงานเขียนมลายู
- อ. มัมลาฮูตัน บูดูโระห์ (University of Indonesia, อินโดนีเซีย)
 
ห้องที่ 2 (203)
5. ทัศนภาพอันแตกกระจายของความเป็นปาตานี

• กลองและปืนใหญ่: สัญลักษณ์ในการสร้างอัตลักษณ์ปาตานี
- ศ. ดร. บาร์บารา วัตสัต อันดายา (University of Hawai’i, สหรัฐอเมริกา)
• การเผยแพร่อิสลามในปาตานี: การซึมซับ การเป็นตัวกลาง และการประยุกต์
- ดร. คริสโตเฟอร์ เอ็ม. จอลล์ (ศูนย์มุสลิมศึกษา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
• หวนมองความสัมพันธ์และเสวนาการทางศาสนา ระหว่างชาวมุสลิมและชาวพุทธในภาคใต้ของไทย
- มร. ฮาติบ อับดุล กาดีร์ (Gadjah Mada University, อินโดนีเซีย)
• ภาษามลายูปาตานี เป็นมรดกตกทอดทางอารยธรรมอันภาคภูมิใจแห่งโลกมลายู
- อ. ซูฮัยมีย์ อาแว (วิทยาลัยเทคนิคยะลา)
 
15.00 – 15.15
พักรับประทานอาหารว่าง
 
15.15 – 16.00
สะท้อนเนื้อหาการประชุม: ศาสตราจารย์ ดร. เบเนดิคท์ แอนเดอร์สัน

 

 
 
 
 
 
 
อ่านรายละเอียดการจัดงาน ได้ที่

ร่วมบริจาคเงิน สนับสนุน ประชาไท โอนเงิน กรุงไทย 091-0-10432-8 "มูลนิธิสื่อเพื่อการศึกษาของชุมชน FCEM" หรือ โอนผ่าน PayPal / บัตรเครดิต (รายงานยอดบริจาคสนับสนุน)

ติดตามประชาไท ได้ทุกช่องทาง Facebook, X/Twitter, Instagram, YouTube, TikTok หรือสั่งซื้อสินค้าประชาไท ได้ที่ https://shop.prachataistore.net