Skip to main content
sharethis
Event Date

กำหนดการ ท้าทายสังคมศาสตร์ไทย: ความรู้ท่วมหัวเอาตัว(สังคม)ไม่รอด? การประชุมเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 10 วันที่ 12-13 มีนาคม 2554 ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันเสาร์ที่ 12 มีนาคม 2554 08.00 – 08.30 น. ลงทะเบียน หน้าห้องประชุม ศ.ดร.มล.ตุ้ย ชุมสาย ชั้น 8 อาคาร HB7 คณะมนุษยศาสตร์ มช. 08.30 – 08.50 น. กล่าวรายงาน โดย อาจารย์ ดร.อภิญญา เฟื่องฟูสกุล (ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการพัฒนาสังคม) ต้อนรับและเปิดการสัมมนา โดย ผศ.ดร.พงษ์อินทร์ รักอริยะธรรม (รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ และคุณภาพการศึกษา มช.) 08.50 – 09.10 น. “ทิศทางการให้ทุนและการพัฒนาศักยภาพบัณฑิตศึกษา” โดย ศ.ดร.ปราโมทย์ ประสาทกุล ประธานกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมวิทยา คุณฆัสรา ขมะวรรณ มุกดาวิจิตร ผู้ช่วยผู้อำนวยการศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) 09.10 – 10.00 น. ปาฐกถาพิเศษ “ปัญหาการประเมินค่างานสายสังคมศาสตร์ในประเทศไทย – ความเสี่ยงในสังคมฐานความรู้(knowledge-based society)” โดย ศาสตราจารย์ สุริชัย หวันแก้ว คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 10.00 – 10.15 น. แนะนำสมาคมนักสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาสยาม โดย ผศ.ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร 10.15 – 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.30 – 12.00 น. เสวนาหัวข้อ “หนึ่งทศวรรษเครือข่ายฯ: หลวม กลวง โบ๋ และจะ(ไม่)มีอะไรในกอไผ่ ?” นำเสวนา โดย รศ.ดร.สมศักดิ์ ศรีสันติสุข / ผศ.ดร.ฐิรวุฒิ เสนาคำ / นายสันติพงษ์ ช้างเผือก ดำเนินรายการ โดย อาจารย์ ดร.ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 16.00 น. เสวนากลุ่มย่อย 1 : นำเสนอบทความ แลกเปลี่ยน และเรียนรู้ร่วมกัน (นำเสนอบทความ คนละ 15 นาที) ห้อง 1 (HB7801) การสร้างอัตลักษณ์ของชุมชน ชาติพันธุ์ และภูมิภาค “การสร้างและต่อรองความหมายของ ‘ความเป็นล้านนา’ ในงานจิตรกรรมไทยร่วมสมัย” โดย นางสาวกษมาพร แสงสุระธรรม (มธ.) “การเลื่อนไหลของอัตลักษณ์ชาวชุมชนแออัดในจังหวัดอุบลราชธานี กรณีศึกษาชุมชนบ้านใหม่ อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี” โดย นางสาวกิตติกาญจน์ หาญกุล (มอบ.) “กระบวนการรื้อฟื้นสำนึกทางประวัติศาสตร์และการจัดตั้งวัฒนธรรมไทยลื้อชุมชนเชียงคำ จังหวัดพะเยา ช่วงทศวรรษ 2520-2550” โดย นายณกานต์ อนุกูลวรรธกะ (มช.) “การประกอบสร้างอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ของกลุ่มคนยองในจังหวัดลำพูน” โดย นายอภินันท์ ธรรมเสนา (มธ.) “กระบวนการสร้างความเป็นชาติพันธุ์งวนใน สปป.ลาว” โดย นางสาวสาลิกา บดสะบาง (มช.) “อัตลักษณ์เชิงพื้นที่ของผู้หญิงเวียดนามในชุมชนที่ถูกย้ายที่ตั้งใหม่ ในนครหลวงเวียงจันทน์ ส.ป.ป.ลาว” โดย นางสาววรรณทวี สุภานุวงศ์ (มช.) ให้ข้อคิดเห็นโดย รศ.ดร.ไชยันต์ รัชชกูล (มพ.) อาจารย์ ดร.ขวัญชีวัน บัวแดง (มช.) ดำเนินรายการโดย นายนพพล อาชามาส ห้อง 2 (HB7802) ทุน ความมั่นคง การเปลี่ยนแปลงสังคมชนบท “ความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมกับความอยู่ดีมีสุขของครัวเรือนในอำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี” โดย นายฐิตินันทน์ ผิวนิล (ม.มหิดล) “ทุนชุมชนของชาวนาภายใต้ระบบความสัมพันธ์การผลิตข้าว” โดย นายพิทยา อ่อนแสง (มข.) “การขับเคลื่อนกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองบนฐานทุนทางสังคม กรณีศึกษาหมู่บ้านโนนสังข์ อำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์” โดย นางสาวไพรรินทร์ พฤตินอก (มอบ.) “ความสัมพันธ์ทางสังคมกับการควบคุม/ต่อรองของเกษตรกรในระบบการผลิตหอมหัวใหญ่” โดย นางสาวสุพรรณี สมศรีใส (มช.) ให้ข้อคิดเห็นโดย รศ.ดร.สุพจน์ แสงเงิน (มรภ.พระนคร) ผศ.ดร.เสาวลักษณ์ ชายทวีป (มจ.) ดำเนินรายการโดย นายนาวิน โสภาภูมิ ห้อง 3 (HB7703)_ ผู้หญิง ตัวตน และการสร้างพื้นที่ต่อรอง “ตะกายดาว : ชีวิตต้องสู้ของผู้หญิงออฟฟิศ” โดย นางสาวกมลวรรณ คงยก (มอ.) “อัตลักษณ์ของเภสัชกรหญิงในบริบทสังคมเมือง” โดย นางสาวฉัตรธิดา หยูคง (มอ.) “บทบาทของผู้หญิงในการผลิตข้าวพันธุ์พื้นบ้านกับการปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์ระหว่างเพศในบริบทสังคมอีสาน: กรณีศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี” โดย นางสาวชลิตา ศรีแก้ว (มอบ.) “การสักยันต์(ของผู้หญิง) การค้าขายบนความเชื่อ(ง)” โดย นายภัทรพล ภูริดำรงกุล (มศก.) “การสร้าง ‘พื้นที่ที่สาม’ ของผู้หญิง ‘ชนบทใหม่’ ภาคเหนือ ผ่านเพลงซอสตริง” โดย นางสาวอรพิน สร้อยญาณะ (มช.) ให้ข้อคิดเห็นโดย อาจารย์ ธวัช มณีผ่อง (มอบ.) อาจารย์ อาภาภรณ์ สัมฤทธิ์ (มช.) ดำเนินรายการโดย นายกังวาฬ ฟองแก้ว ห้อง 4 (HB7705) คนข้ามแดน “ความขัดแย้งของกลุ่มชาติพันธุ์จากพม่าบนพื้นที่การเป็นแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย: กรณีศึกษาแรงงานพม่าในอำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา” โดย นางสาวกอแก้ว วงศ์พันธุ์ (มวล.) “หมุดยึดคนกระจาย : เครือข่ายทางสังคมของนายหน้าแรงงานอีสาน” โดย นายธนพฤกษ์ ชามะรัตน์ (มข.) “ยุทธศาสตร์การดำรงชีพของไทยพลัดถิ่นในสังคมไทย” โดย นายมนต์ชัย ผ่องศิริ (มข.) “บทบาทและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจของคนไทยเชื้อสายเวียดนามผ่านธุรกิจร้านอาหารเวียดนามในจังหวัดนครพนม” โดย นางสาววรรณธวัช พูนพาณิชย์ (มศก.) “ลื้อชายแดน : การสร้างความเป็นถิ่นฐานและการต่อสู้ดิ้นรนที่เมืองชายแดนแม่สาย-ท่าขี้เหล็ก” โดย นางสาวเสาวรีย์ ชัยวรรณ (มช.) ให้ข้อคิดเห็นโดย อาจารย์ ดร.จักรกริช สังขมณี (จุฬาฯ) ผศ.ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร (มธ.) ดำเนินรายการโดย นายยุทธพงศ์ จันทรวรินทร์ (พักรับประทานอาหารว่างระหว่างเสวนากลุ่มย่อย) 16.00 – 17.30 น. ประชุมเครือข่ายนักศึกษานักศึกษาฯ ณ ห้อง HB7702 ดำเนินการประชุม โดย ตัวแทนนักศึกษาจากสถาบันภาคีเครือข่ายฯ 18.00 – 21.00 น. รับประทานอาหารเย็น ณ ศาลาธรรม มช. วันอาทิตย์ที่ 13 มีนาคม 2554 09.00 – 12.00 น. เสวนากลุ่มย่อย 2 : นำเสนอบทความ แลกเปลี่ยน และเรียนรู้ร่วมกัน (นำเสนอบทความ คนละ 15 นาที) ห้อง 5 (HB7801) การบริโภคและการต่อรองทางวัฒนธรรม “อาหารท้องถิ่นไทโคราชบ้านหนองรังกา : วิถีชีวิต วัฒนธรรมการบริโภคอาหารท้องถิ่นในสังคมร่วมสมัย” โดย นางสาวจักษุมาลย์ วงษ์ท้าว (มศก.) “ความเบี่ยงเบนของวัยรุ่นในโลกไซเบอร์” โดย นางสาวฐิติกาญจน์ อัศตรกุล (มก.) “ชีวิตครูบ้านนอกในกระแสโลกาภิวัตน์” โดย นางสาวธิติพร มณีสม (มอ.) “วัฒนธรรมรองของเด็กที่ไม่กระทำความผิดซ้ำ” โดย นายรัตนะ วรบัณฑิต (มข.) “แฟนบอล”: ปฏิบัติการทางวัฒนธรรมของแฟนสโมสรฟุตบอลไทย” โดย นายอาจินต์ ทองอยู่คง (มธ.) ให้ข้อคิดเห็นโดย อาจารย์ ดร.อภิญญา เฟื่องฟูสกุล (มช.) ผศ.ดร.มนตรี กรรพุมมาลย์ (มน.) ดำเนินรายการโดย นายจิรวัฒน์ รักชาติ ห้อง 6 (HB7802) ศาสนาและตัวตนในโลกสมัยใหม่ “ธรรมยาตรากับหนุ่มสาวนักปฏิบัติ: การเดินทางของความหมายและการตีความ” โดย นางสาวธิติมา อุรพีพัฒนพงศ์ (มธ.) “วัยรุ่น, มุสลิมะห์ และภาวะสมัยใหม่” โดย นางสาววิภาวี พงษ์ปิ่น (มธ.) “กระบวนการกลายเป็นมุสลิมของกลุ่มเยาวชนชาติพันธุ์ในภาคเหนือของไทย” โดย นายสมัคร์ กอเซ็ม (มช.) “สตรีกับปฏิบัติการความเป็นผู้นำ:กรณีศึกษาผู้นำสตรี อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี” โดย นางสาวสุมิตรา โจสรรนุสนธิ์ (มช.) ให้ข้อคิดเห็นโดย ผศ.ดร.สุชาติ เศรษฐมาลินี (มพ.) อาจารย์ ดร.สุรพงษ์ ยิ้มละมัย (มอ.) ดำเนินรายการโดย นายวินัย บุญลือ ห้อง 7 (HB7702) ชีวิตชายขอบ มอแกนและคนอื่น: ความสัมพันธ์หลากหลายมิติภายหลังภัยพิบัติสึนามิ พ.ศ.2547 กรณีศึกษา: กลุ่มชาติพันธุ์ มอแกนบ้านเกาะเหลาหน้านอก จังหวัดระนอง” โดย นายธีรศักดิ์ สุขสันติกมล (มศก.) “เวลานี้มีความหลัง : กรณีศึกษาชีวิตความเป็นอยู่ของผู้สูงอายุใน ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา” โดย นางสาวสมจิตร์ อินทมโน (มอ.) “ชีวิต ชุมชน และโลกทัศน์ของคน “ภาษามือ” ในสังคมไทย” โดย นางสาววรัชญา ชาลี (มธ.) “บนเส้นทางของการปลดหนี้: วิธีการจัดการหนี้สินของคนในชุมชนแออัดที่เข้าร่วมโครงการบ้านมั่นคง” โดย นายอุกฤษฏ์ เฉลิมแสน (มธ.) “คนพิการกับกลยุทธ์การต่อรองกับการถูกตีตราจากสังคม: กรณีศึกษาผู้หญิงพิการทางสายตา (ตาบอด) ใน นครหลวงเวียงจันทน์” โดย นางวันชนะ ไชยะแสง (มช.) ให้ข้อคิดเห็นโดย อาจารย์ ดร.ดุษฎี เจริญสุข (มก.) อ.ดร.อรัญญา ศิริผล (มช.) ดำเนินรายการโดย นายพุฒิพงศ์ นวกิจบำรุง ห้อง 8 (HB7703) ความรู้: การครอบงำและทางเลือก “การเมืองว่าด้วยเป็ดไล่ทุ่ง: วาทกรรมการแพทย์ว่าด้วย “ไข้หวัดนก” กับการต่อรองของเกษตรกร” โดย นางสาวกรรณิกา อุสสาสาร (มช.) “กระบวนการตัดสินใจเลือกวิธีการรักษาโรคร้ายแรงอย่างมีส่วนร่วมของผู้ป่วยกับครอบครัวและญาติ: กรณีศึกษา หมอเขียว” โดย นายไกรพล สุริยะบุญ (มอบ.) “ประวัติศาสตร์, การเมือง, และวาทศิลป์ ของเ(ค)รื่องเพศใน สังคมไทย, ทศวรรษ 2470-2520” โดย นายณภัค เสรีรักษ์ (มธ.) “นักสืบอิสระแห่งโลกไซเบอร์” โดย นางสาวธัสรา โพธิพุกกณะ (มอ.) “หลักสูตรแฝง: วิธีคิดต่อเด็กด้อยโอกาสและอุดมการณ์ของโรงเรียนในสถานสงเคราะห์” โดย นางสาวพิชามญชุ์ ทิพยพัฒนกุล (มธ.) ให้ข้อคิดเห็นโดย ผศ.ดร.พิมลพรรณ อิศรภักดี (ม.มหิดล) ผศ.ดร.เกรียงศักด์ิ เชษฐพัฒนวนิช (มช.) ดำเนินรายการโดย นายศักรินทร์ ณ น่าน ห้อง 9 (HB7705) “ชุมชน” กับการเคลื่อนไหวทางสังคม “กลยุทธ์การประกอบสร้างความรู้ของกลุ่มชาวบ้านที่คัด ค้านเหมืองแร่ลิกไนต์: กรณีศึกษาโครงการพัฒนาเหมืองเวียงแหง อ.เวียงแหง จ.เชียงใหม่” โดย นางสาวกิติมา ขุนทอง (มช.) “การเคลื่อนไหวต่อรองของชาวบ้านปากมูน เพื่อเปิด-ปิดประตูระบายน้ำเขื่อนปากมูล” โดย นายพนา ใจตรง (มอบ.) “การท่องเที่ยวเรือสำราญกับผลกระทบและการเคลื่อนไหวของชุมชนที่ได้รับผลกระทบ : ศึกษากรณี หมู่บ้านแห่งหนึ่งในอ่าวพังงา” โดย นายพิเชษฐ์ ปานดำ (มวล.) “ไม่ใช่ ‘เพื่อน’ ก็ ‘Like’ กันได้” โดย นายอาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล (มธ.) ให้ข้อคิดเห็นโดย รศ.ดร.เลิศชาย ศิริชัย (มวล.) อาจารย์ ดร.สัณฐิตา กาญจนพันธุ์ (มช.) ดำเนินรายการโดย นางสาวจันทร์จิตตา จันทร์อ่อน (พักรับประทานอาหารว่างระหว่างเสวนากลุ่มย่อย) 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 15.30 น. สัมนาหัวข้อ “จากห้องเรียนสังคมศาสตร์ สู่ ‘พื้นที่’สังคมไทย” นำเสวนา โดย ผศ.พฤกษ์ เถาถวิล / อาจารย์ ดร.เก่งกิจ กิติเรียงลาภ / อาจารย์เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร / นายวินัย บุญลือ ดำเนินรายการ โดย อาจารย์ ดร.อัจฉรา รักยุติธรรม (พักรับประทานอาหารระหว่างการเสวนา) 15.30 – 16.00 น. สรุปและกล่าวปิด โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธุ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดาวโหลดเอกสารกำหนดการประชุม

ร่วมบริจาคเงิน สนับสนุน ประชาไท โอนเงิน กรุงไทย 091-0-10432-8 "มูลนิธิสื่อเพื่อการศึกษาของชุมชน FCEM" หรือ โอนผ่าน PayPal / บัตรเครดิต (รายงานยอดบริจาคสนับสนุน)

ติดตามประชาไท ได้ทุกช่องทาง Facebook, X/Twitter, Instagram, YouTube, TikTok หรือสั่งซื้อสินค้าประชาไท ได้ที่ https://shop.prachataistore.net