งานประชุมวิชาการนานาชาติ "วรรณกรรมไทยและอินโดนีเซียในยุคหวนคืนของอนุรักษนิยม"

Event Date: 
Friday, 6 August, 2021 - 08:30 to Saturday, 7 August, 2021 - 17:00

เปิดให้ลงทะเบียนแล้ววันนี้ ผู้สนใจเข้าร่วมฟังงานประชุมวิชาการนานาชาติ "วรรณกรรมไทยและอินโดนีเซียในยุคหวนคืนของอนุรักษนิยม" สามารถลงทะเบียนได้แล้วตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป

งานประชุมจะจัดวันที่ 6-7 สิงหาคม 2564 ผ่านระบบ Zoom Webinar

วิทยากรจากทั้งสองประเทศนำเสนอด้วยภาษาของตนเอง (ไทยและอินโดนีเซีย) โดยมีล่ามแปลทั้งสองภาษาตลอดงาน

คลิกเพื่อลงทะเบียน: https://bit.ly/3ribT6G หรือ สแกน QR Code จากภาพ (เข้าร่วมฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ)

 

กำหนดการ

วันศุกร์ที่ 6 สิงหาคม 2564

8.30-9.30

พิธีการ

กล่าวรายงาน โดย ทรรศนะ นวลสมศรี

กล่าวต้อนรับ โดย ศาสตราจารย์ ดร. สุรสิทธิ์ วชิรขจร คณบดีคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

กล่าวเปิดงาน โดย ศาสตราจารย์ ดร. อูตามี วิเดียตี คณบดีคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยรัฐแห่งมาลัง

ล่ามและผู้ดำเนินรายการ: อับดุลรอยะ ปาแนมาแล

9.30-10.30

ปาฐกถา “ไม่ใช่กล้วย: ความท้าทายอย่างใหม่ของวรรณกรรมไทยหลังการสังหารหมู่ & รัฐประหาร & เปลี่ยนรัชกาล” โดย ไอดา อรุณวงศ์

ล่ามและผู้ดำเนินรายการ: เพ็ญศรี พานิช

10.30-12.00

เวที 1: วรรณกรรมต่อต้านอำนาจสถาปนาหลังการสังหารหมู่ปี 2553 ในประเทศไทย

“องคาพยพที่ปรากฏชัดของเผด็จการไทย” โดย เดือนวาด พิมวนา

“ใต้ ชายคาเรื่องสั้น: วรรณกรรมไทยหลังเหตุการณ์พฤษภา 53” โดย ราม ประสานศักดิ์

“‘I HAVE NO VOIC’: เรื่อง(เล่า)ของนักโทษคดี 112” โดย สุธิดา วิมุตติโกศล

ล่ามและผู้ดำเนินรายการ: ทรรศนะ นวลสมศรี

13.00-14.30

เวที 2: นักประพันธ์ การเขียน และเสียงใหม่ของวรรณกรรมยุคหลังรีฟอร์มาซีในอินโดนีเซีย

“ที่กึ่งกลางระหว่างหญิงชาวเมืองและชายโพกผ้าสะระบั่น: การเขียนนิยายในอินโดนีเซียช่วงต้นปี 2000” โดย มะห์ฟุด อิกห์วาน

“The Problem that Has No Name: วรรณกรรมและอัตลักษณ์ประจำวันของสตรี” โดย อันดีนา ดวีฟัตมา

“ที่กังปาตอส, เมืองส่งเสียง ใกล้และก้องดัง” โดย เดีย อนุคฺรห

ล่ามและผู้ดำเนินรายการ: เพ็ญศรี พานิช

14.30-15.30

เวที 3: จากฟากฟ้าสุราลัยสู่แดนดิน: การยกระดับอนุรักษนิยมของวรรณกรรมไทยในทศวรรษที่เปล่าสูญ

“การเดินทางแห่งสาระเนื้อหาของวรรณกรรมไทยในทศวรรษใหม่” โดย สกุล บุณยทัต

“วรรณกรรมรางวัลกับข้อเสนอในภาวะวิกฤติการเมืองของกลุ่มอำนาจนำในวงการวรรณกรรมไทย” โดย พิเชฐ แสงทอง

ล่ามและผู้ดำเนินรายการ: อับดุลรอยะ ปาแนมาแล

15.30-16.30

เวที 4: กิจกรรมการเขียนอ่านและพลวัตการพิมพ์ในภูมิทัศน์วรรณกรรมของอินโดนีเซีย

“เฉกเช่นหนังยาง: การยืดหดตึงหย่อนของโลกหนังสืออินโดนีเซีย” โดย วินดี อาริสตานตี

“กิจกรรมวรรณกรรมอินโดนีเซียท่ามกลางภาวะระบาดใหญ่” โดย ปูตู ฟาจาร์ อาร์จานา

ล่ามและผู้ดำเนินรายการ: นิศาชล ชูชัย

---------------------

วันเสาร์ที่ 7 สิงหาคม 2564

9.00-10.00

ปาฐกถา “อินโดนีเซียในหนึ่งทศวรรษ: ทรงจำ ลอกเลียน และสงครามใหม่” โดย ลินดา คริสตานตี

ล่ามและผู้ดำเนินรายการ: เพ็ญศรี พานิช

10.00-11.30

เวที 5: ทบทวนเพศสถานะและภาวะพัวพันทางประวัติศาสตร์ในถ้อยพรรณนาร่วมสมัยของไทย

“ความรู้สึกทางเพศของผู้หญิง: การต่อรองและต่อต้านอำนาจนิยมในโลกวรรณกรรมเป็นพิษ (Toxic Literature)” โดย ปนิธิตา เกียรติ์สุพิมล

“อนุรักษนิยมในวรรณกรรมก้าวหน้า และการขยายปริมณฑลของวรรณกรรมการเมืองร่วมสมัยของไทย” โดย จิรัฏฐ์ เฉลิมแสนยากร

“ยุพดี VS กีรติ: การกลับมาอ่านใหม่เกิดซ้ำตามใจเลือกของวรรณกรรมหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง” โดย วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา

ล่ามและผู้ดำเนินรายการ: เพ็ญศรี พานิช

13.00–14.30

เวที 6: ตำแหน่งแห่งที่และการใช้วรรณกรรมในอินโดนีเซียร่วมสมัย

“ส่วนผสมท้องถิ่น-สากล: การก่อร่างสร้างอัตลักษณ์วรรณกรรมอินโดนีเซีย” โดย เตาฟิก เดอร์มาวัน

“ประโยชน์ของวรรณกรรมในการเรียนการสอนภาษาอินโดนีเซียสำหรับชาวต่างชาติ” โดย กาตุต สุสันโต

“วรรณกรรมเพื่อการศึกษา: กรณีนิยายของ Andrea Hirata” โดย วาห์ยูดี สิสวันโต

ล่ามและผู้ดำเนินรายการ: อับดุลรอยะ ปาแนมาแล

14.30-16.00

เวทีพิเศษ: วรรณกรรมกับการเมืองอนุรักษนิยมและ/หรือเสรีนิยมในไทยและอินโดนีเซีย

“วรรณกรรมไทยเลี้ยวขวาผ่านตลอด” โดย ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์

“เสียงอันหลากหลายของวรรณกรรมอินโดนีเซียในสิบปีหลัง” โดย โจโก ซาร์โยโน

ล่ามและผู้ดำเนินรายการ: นิศาชล ชูชัย

16.00-16.45

Closing Remarks โดย ทวีศักดิ์ เผือกสม

ล่ามและผู้ดำเนินรายการ: เพ็ญศรี พานิช

16.45-17.00

กล่าวขอบคุณ โดย เพ็ญศรี พานิช

---------------------

รายละเอียดวิทยากร

วิทยากร (ไทย) ๐ ไอดา อรุณวงศ์ บรรณาธิการสำนักพิมพ์อ่าน ๐ เดือนวาด พิมวนา นักเขียน ๐ ราม ประสานศักดิ์ นักวิชาการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๐ สุธิดา วิมุตติโกศล นักวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๐ สกุล บุณยทัต นายกสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย ๐ พิเชฐ แสงทอง นักวิชาการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ๐ ปนิธิตา เกียรติ์สุพิมล บรรณาธิการสำนักพิมพ์ P.S. ๐ จิรัฏฐ์ เฉลิมแสนยากร นักเขียน นักวิชาการ ๐ วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา นักเขียน นักวิจารณ์ภาพยนตร์ ๐ ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ นักวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๐ ทวีศักดิ์ เผือกสม นักวิชาการ มหาวิทยาลัยนเรศวร

วิทยากร (อินโดนีเซีย) ๐ ลินดา คริสตานตี นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ ๐ มะห์ฟุด อิกห์วาน นักเขียน ๐ อันดีนา ดวีฟัตมา นักเขียน นักวิชาการ มหาวิทยาลัยอัตมาจายาคาทอลิกแห่งอินโดนีเซีย ๐ เดีย อนุคฺรห นักเขียน นักแปล บรรณาธิการสื่อออนไลน์ Kumparan+ ๐ วินดี อาริสตานตี บรรณาธิการ ผู้ก่อตั้ง patjarmerah ๐ ปูตู ฟาจาร์ อาร์จานา นักเขียน บรรณาธิการเรื่องสั้นหนังสือพิมพ์ Kompas ๐ เตาฟิก เดอร์มาวัน นักวิชาการ มหาวิทยาลัยรัฐแห่งมาลัง ๐ กาตุต สุสันโต นักวิชาการ มหาวิทยาลัยรัฐแห่งมาลัง ๐ วาห์ยูดี สิสวันโต นักเขียน นักวิชาการ มหาวิทยาลัยรัฐแห่งมาลัง ๐ โจโก ซาร์โยโน นักเขียน นักวิชาการ มหาวิทยาลัยรัฐแห่งมาลัง

ล่ามและผู้ดำเนินรายการ ๐ อับดุลรอยะ ปาแนมาแล ๐ นิศาชล ชูชัย ๐ ทรรศนะ นวลสมศรี ๐ เพ็ญศรี พานิช สำนักวิชารัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

---------------------

จัดโดย สำนักวิชารัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ (ประเทศไทย) และคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยรัฐแห่งมาลัง (ประเทศอินโดนีเซีย)

#####

ร่วมบริจาคเงิน สนับสนุน ประชาไท โอนเงิน กรุงไทย 091-0-10432-8 "มูลนิธิสื่อเพื่อการศึกษาของชุมชน FCEM" หรือ โอนผ่าน PayPal / บัตรเครดิต (รายงานยอดบริจาคสนับสนุน)

ติดตามประชาไทอัพเดท ได้ที่:
Facebook : https://www.facebook.com/prachatai
Twitter : https://twitter.com/prachatai
YouTube : https://www.youtube.com/prachatai
Prachatai Store Shop : https://prachataistore.net
ข่าวรอบวัน
สนับสนุนประชาไท 1,000 บาท รับร่มตาใส + เสื้อโปโล

ประชาไท