Skip to main content
sharethis



กสารนี้ประกอบการเสวนา 'การเมืองไทย : หลังขิงแก่ 1(Thailand: Post Old Ginger 1)' จัดโดย โครงการตลาดวิชา มหาวิทยาลัยชาวบ้าน เมื่อวันศุกร์ 9 มีนาคม 2550 เวลา 13.30-17.00 ห้อองประชุม 202 ชั้น 2 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์



ค่าใช้จ่ายสำหรับรัฐประหาร และรัฐธรรมนูญใหม่


พุทธศักราช

2549/2550

เงินเดือนสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ


ประธาน เดือนละ                                                

115,920 บาท

รองประธาน (

2 คน) 110,390x2                              220,780 บาท

สมาชิก (

239 คน) 104,330x239                             249,340,870 บาท

รวมเดือนละ                                                       

25,271,570 บาท

ถ้าอยู่จนมีสภาชุดใหม่ ต.ค.

2549-ธ.ค. 2550(15 เดือน) 379,073,550 บาท

เงินเดือนสภาร่างรัฐธรรมนูญ


ประธาน เดือนละ                                                   

110,390 บาท

รองประธาน(

2 คน) 106,360x2                                 212,720 บาท

สมาชิก(

97 คน) 104,330x97                                   10,120,010 บาท

รวมเดือนละ                                                        

10,443,120 บาท

ถ้าอยู่จนมีสภาชุดใหม่ ม.ค.

-ธ.ค.2550 (12เดือน)         125,317,440 บาท

เงินเดือนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ


ประธาน เดือนละ                                                  

114,000 บาท

รองประธาน                                                         

109,500 บาท

สมาชิก(

7 คน) 104,500x7                                       731,500 บาท

รวมเดือนละ                                                         

955,000 บาท

ถ้าอยู่จนหมดวาระ ต.ค.

2549-2550(15 เดือน)             14,325,000 บาท

เงินเดือน คปค/คมช.


ประธาน เดือนละ                                                    

119,220 บาท

รองประธาน                                                         

113,640 บาท

สมาชิก(

6 คน)109,560x6                                        657,360 บาท

รวมเดือนละ                                                         

890,220 บาท

ถ้าอยู่จนหมดวาระ ต.ค.

2549 - ธ.ค. 2550 (15 เดือน)   13,353,300 บาท

อนึ่ง ยังจะต้องมีการทำ

"ประชามติ"ว่าจะรับหรือไม่รับ "รัฐธรรมนูญฉบับที่ 18" นี้ในประมาณเดือน กันยายน 2550 โดยที่จะต้องใช้งบประมาณอีก 1,800,000,000 ล้านบาท

สรุปแล้ว รวมค่าใช้จ่ายทั้งหมดสำหรับรัฐประหารและรัฐธรรมนูญ รวมทั้งสิ้น

= 379,073,550+125,317,440+14,325,000+13,353,300+1,800,000,000 = 2,332,069,290 (สองพันสามร้อยสามสิบสองล้านหกหมื่นเก้าพันเก้าพันสองร้อยเก้าสิบบาท)

โดยเปรียบเทียบแล้วใกล้เคียงกับงบประมาณแผ่นดินที่ ม.ธรรมศาสตร์ ได้รับในปีนี้ คือ

2,048,510,400 บาท งบดังกล่าว มธ. ใช้สำหรับการศึกษาของชาติ เป็นเงินเดือนของอาจารย์ 1,400 คน ข้าราชการและลูกจ้าง เกือบ 5,000 คน และนักศึกษาทุกระดับปริญญาจำนวนกว่า 30,000 กว่าคน

อนึ่ง บุคคลที่เป็นสมาชิกในองค์กรของการ

"รัฐประหารและรัฐธรรมนูญ" ต่างๆเหล่านี้ ต่างมีเงินเดือนประจำอยู่แล้ว และไม่มีใครลาออกจากตำแหน่งมาเหมือนดังเช่นสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งและมากกว่า และมากกว่า 90 % ของสมาชิกองค์กรต่างๆข้างต้นเป็นข้าราชการที่กินเงินเดือนจากภาษีราษฎรทั้งสิ้น

บุคคลเหล่านี้ยังมีสิทธิพิเศษอื่นๆอีกเช่น มีเบี้ยประชุมครั้งละ

1,000 บาท การเดินทางไปราชการในต่างประเทศเบิกได้เหมือนข้าราชการ ซี 11

นอกจากนั้นยังมีตัวเลข ที่น่าสนใจอีกคือ ค่าใช้จ่ายในการก่อการัฐประหาร เพื่อยึดอำนาจการปกครองจาก พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีของ คปค. เมื่อวันที่

19 กันยายน ที่มีการคงกำลังทหาร อาวุธยุทโธปกรณ์และการเตรียมพร้อมในช่วง 2 สัปดาห์แรกสูงถึง 500 ล้านบาท(ขณะนี้งบกลาโหมปี 2550 จำนวน 115,024,014,800 บาท (เพิ่มขึ้นจากปี 2549 ที่มีเพียง 85,219,000,000 บาท อยู่ 34.97 %) หรือ)คิดเป็น 7.344 % ของงบประมาณทั้งประเทศ 1,566,200,000,000 บาท)

หมายเหตุ

: ข้อมูลรวบรวมจากรัฐสภา

 

ร่วมบริจาคเงิน สนับสนุน ประชาไท โอนเงิน กรุงไทย 091-0-10432-8 "มูลนิธิสื่อเพื่อการศึกษาของชุมชน FCEM" หรือ โอนผ่าน PayPal / บัตรเครดิต (รายงานยอดบริจาคสนับสนุน)

ติดตามประชาไท ได้ทุกช่องทาง Facebook, X/Twitter, Instagram, YouTube, TikTok หรือสั่งซื้อสินค้าประชาไท ได้ที่ https://shop.prachataistore.net