Skip to main content
sharethis

หลัง ‘ภาษากะเทย’ ปะทะ ‘ภาษาชายแท้’ กำลังฮิตในโลกออนไลน์ หมายเหตุประเพทไทยสัปดาห์นี้ ภาวิน มาลัยวงศ์ และชานันท์ ยอดหงษ์ สืบหาที่มา ‘ภาษาลู’ ที่เริ่มใช้ในหมู่กระเทยช่วงทศวรรษ 1990s เป็นภาษาของกลุ่มวัฒนธรรมย่อย (subculture) ที่แต่เดิมใช้แบบเข้ารหัส เพื่อหลีกเร้นการรับรู้ของสังคมภายนอก ก่อนที่ภาษาลูจะกลายเป็นภาษาเปิด และแพร่หลายข้ามกลุ่มสังคมในยุคหลัง เมื่อเสรีภาพทางเพศคลี่คลาย และสิทธิความหลากหลายทางเพศได้รับการยอมรับ

นอกจากนี้ยังชวนอ่านผลงานของ ปุณยาพร รูปเขียน หัวข้อ “ลาภูลาษูซูแล: ภาษาลูกับการสร้างอัตลักษณ์ของกลุ่มกะเทย” (2562) ซึ่งเป็นรายงานการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individual Study)  ส่วนหนึ่งของหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

ร่วมบริจาคเงิน สนับสนุน ประชาไท โอนเงิน กรุงไทย 091-0-10432-8 "มูลนิธิสื่อเพื่อการศึกษาของชุมชน FCEM" หรือ โอนผ่าน PayPal / บัตรเครดิต (รายงานยอดบริจาคสนับสนุน)

ติดตามประชาไท ได้ทุกช่องทาง Facebook, X/Twitter, Instagram, YouTube, TikTok หรือสั่งซื้อสินค้าประชาไท ได้ที่ https://shop.prachataistore.net