
แถลงการณ์: ขอให้ยุติการเก็บและให้ ทำลายสารพันธุกรรมของผู้เข้ารั บการเกณฑ์ทหารในพื้นที่ ชายแดนใต้
- บุคคลทุกคนมีสิทธิในชีวิตเนื้
อตัวร่างกายและสิทธิในความเป็ นส่วนตัว รวมทั้งข้อมูลเกี่ยวกับสารพันธุ กรรมหรือดีเอ็นเอของตนที่บุ คคลอื่นหรือเจ้าหน้าที่ของรั ฐไม่อาจล่วงละเมิดได้ การจัดเก็บดีเอ็นเอของผู้เข้ารั บการเกณฑ์ทหารในจชต. โดยเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงนั้ นเป็นการกระทำที่สุ่มเสี่ยงว่ าจะเป็นการปฏิบัติหน้าที่โดยไม่ ชอบด้วยกฎหมาย เนื่องจากไม่มีบทกฎหมายใดที่ให้ อำนาจเจ้าหน้าที่กระทำได้ โดยเฉพาะการจัดเก็บโดยระบุชื่ อของเจ้าของดีเอ็นเอไว้ที่กล่ องอาจทำให้ผู้ที่ไม่มี อำนาจตามกฎหมายสามารถเข้าถึงข้ อมูลดีเอ็นเออันเป็นการละเมิดสิ ทธิความเป็นส่วนตัวของเจ้าของดี เอ็นเอได้ และอาจเปิดช่องให้มีการนำข้อมู ลดังกล่าวไปใช้ในทางที่ไม่ชอบ อย่างมีอคติ และเป็นผลร้ายต่อเจ้าของดีเอ็ นเอ - กระบวนการเก็บและรักษาดีเอ็
นเอเป็นเรื่องละเอียดอ่อนที่ กระทบถึงสิทธิของบุคคล การดำเนินการเก็บตัวอย่างดีเอ็ นเอของผู้เข้ารับการเกณฑ์ ทหารในลักษณะเช่นนี้ ทำให้สงสัยว่าจะเป็นการดำเนิ นการที่ขัดกับ “กฎแห่งห่วงโซ่การดูแลพยานหลั กฐาน” (Chain of Custody- CoC ) ที่จะต้องดำเนินการโดยเจ้าหน้ าที่ตามกฎหมาย มีวิชาชีพ มีจริยธรรม โดยหน่วยงานที่เป็นอิสระ มีการควบคุมการเข้าถึง การส่งต่อ รับมอบ เก็บรักษา การตรวจพิสูจน์ และการส่งและใช้ผลการตรวจพิสู จน์ โดยหน่วยงานที่เป็นอิสระต่อกัน และมีการลงชื่อเจ้าหน้าที่ไว้ทุ กขั้นตอน ทั้งมีมาตรการป้องกั นและตรวจสอบไม่ให้บุคคลใดนำข้ อมูลไปใช้โดยไม่มีอำนาจและไม่ ชอบด้วยกฎหมาย การจัดเก็บโดยเจ้าหน้าที่ฝ่ ายความมั่นคงในกรณีนี้อาจเปิ ดโอกาสให้มีการนำดีเอ็นเอของผู้ เข้ารับการเกณฑ์ทหารไปใช้เป็ นหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์เพื่ อประกอบการดำเนินคดีต่อบุ คคลโดยไม่ชอบด้วยขั้ นตอนของกฎหมาย หรือกลั่นแกล้งบุคคลที่เกี่ยวข้ องได้ รวมทั้งการดำเนินคดีในข้ อหาความผิดร้ายแรงที่บางคดี อาจมีโทษถึงขั้นประหารชีวิต เจ้าหน้าที่รัฐจึงควรคำนึงถึ งหลักการดังกล่าวอย่างเคร่งครัด - เจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงได้สื่
อสารต่อสาธารณะในการเก็บดีเอ็ นเอจากผู้เข้ารับการเกณฑ์ทหารว่ า “สำหรับผู้ที่ไม่ยอมให้ตรวจ มีกฎหมายอยู่ตัวหนึ่ง คือ กม. มาตรา 131/1 ป.วิอาญา อันนี้จะเป็นอำนาจของพนั กงานสอบสวน เพื่อจะต้องพิสูจน์ความผิดของผู้ ต้องหา ถ้าผู้ต้องหาไม่ยอมให้ตรวจดีเอ็ นเอ ให้สันนิษฐานว่าผลเป็ นไปตามตรวจพิสูจน์เป็นผลร้ายต่ อผู้ต้องหา เมื่อคุณไม่ให้ตรวจก็แสดงว่าคุ ณเป็นคนร้าย คุณมีอะไรทำไมถึงไม่ให้ตรวจ” - ข้อความดังกล่าวเป็นการบิดเบื
อนข้อเท็จจริงและกฎหมาย ซึ่งความจริงการเก็บดีเอ็ นเอของบุคคลจะดำเนินการได้เมื่ อมีการกระทำผิดอาญาเกิดขึ้น โดยจะดำเนินการโดยพนั กงานสอบสวนต่อผู้ต้องหาในคดี อาญาตามประมวลกฎหมายวิธีพิ จารณาความอาญามาตรา 131/1 เท่านั้น ผู้เข้ารับการเกณฑ์ทหารเป็นเพี ยงบุคคลทั่วไปที่เป็นผู้บริสุ ทธิ์มิใช่ผู้ต้องหาในคดีอาญา การเก็บดีเอ็นเอจึงเป็นการละเมิ ดสิทธิในเนื้อตัวร่างกายและสิ ทธิความเป็นส่วนตัวของผู้เข้ารั บการเกณฑ์ทหาร ซึ่งไม่มีกฎหมายใดให้อำนาจไว้ และเป็นการดำเนินการเกิ นความจำเป็น นอกจากนี้ การให้ข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณะ ยังอาจสร้างความหวาดกลัวแก่ ประชาชนในพื้นที่จชต.ซึ่งอาจเป็ นเหตุหนึ่งที่ทำให้ผู้เข้ารั บการเกณฑ์ทหารจำยอมให้เจ้าหน้ าที่เก็บตัวอย่างดีเอ็นเอของตน - การเก็บตัวอย่างดีเอ็นเอของผู้
เข้ารับการเกณฑ์ทหารนอกจากเป็ นการดำเนินการที่มีปัญหาความไม่ ชอบด้วยกฎหมายแล้ว ทางราชการยังเลือกที่จะดำเนิ นการเฉพาะใน จชต. เท่านั้น ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเข้าใจได้ ว่าเป็นการดำเนินการที่มีลั กษณะของการเลือกปฏิบัติต่ อประชาชนในพื้นที่ที่แตกต่ างจากประชากรในพื้นที่ทั่ วประเทศ อาจทำให้ประชาชนใน จชต. เกิดความรู้สึกว่า พวกตนล้วนเป็นผู้ต้องสงสั ยของเจ้าหน้าที่ว่าเป็นผู้ กระทำผิด หรือเกี่ยวข้องกับความไม่สงบ และถูกเจ้าหน้าที่จ้องเอาผิด การปฏิบัติการเช่นนี้จึงขัดต่ อหลักการปฏิบัติที่ดีต่อพลเมือง หลักการสันนิษฐานว่าบุคคลทุ กคนเป็นผู้บริสุทธิ์ (Presumption of Innocence) ซึ่งเป็นหลักการพื้นฐานสำคั ญของกฎหมายไทยและกฎหมายรั ฐธรรมนูญ
มูลนิธิผสานวัฒนธรรมเห็นว่า รัฐมีหน้าที่และบทบาทที่สำคั
การเก็บตัวอย่างสารพันธุกรรมหรื
ดังนั้น มูลนิธิผสานวัฒนธรรมจึงขอเรี
วันที่ 9 เมษายน 2562
กรุงเทพมหานคร